2501 ได้มีการเปิดการสอนวิชากล้วยไม้ขึ้นในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นครั้งแรก เพื่อผลิตนักวิชาการและพัฒนางานวิจัยกล้วยไม้ของประเทศ และเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ไม่ได้จำกัดอยู่ภายในวง แคบอีกต่อไป จากการส่งเสริมดังกล่าว ทำให้มีการนำเข้ากล้วยไม้ลูกผสมจากต่างประเทศ เช่น จากฮาวายและสิงคโปร์จำนวนมากยิ่งขึ้น ทำให้ผู้ที่มีความรู้หันมารวบรวมพันธุ์ผสมและเพาะพันธุ์จากพ่อแม่พันธุ์ใน ประเทศ ทั้งที่เป็นพ่อแม่พันธุ์จากป่า และลูกผสมที่สั่งเข้ามาแล้วในอดีต ปีพ.ศ. 2506 วงการกล้วยไม้ของไทยได้เริ่มมีแผนในการขยายข่ายงานออกไปประสานกับวงการกล้วย ไม้สากล เพื่อยกระดับวงการกล้วยไม้ในประเทศให้ทัดเทียมกับต่างประเทศ ปีพ.ศ. 2509 เริ่มการทำสวนกล้วยไม้ตัดดอกอย่างจริงจัง เมื่อไทยเริ่มส่งออกกล้วยไม้ไปสู่ตลาดต่างประเทศในยุโรปตะวันตก เช่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี ต่อมาจึงขยายตลาดไปสู่ประเทศญี่ปุ่น แคนาดา และบางรัฐของสหรัฐอเมริกา. การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติภูกระดึงจังหวัดเลย ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ.
2557 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ในเส้นทางสำรวจ 5 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ หนองผักบุ้ง เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ นาน้อย เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ พองหนีบ เส้นทางหน่วยพิทักษ์ฯ อีเลิศ และเส้นทางศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศรีฐาน ซึ่งเป็นเส้นทางหลัก พบกล้วยไม้ทั้งหมด 2 วงศ์ย่อย 36 สกุล 76 ชนิด ได้แก่ Epidendroideae พบ 29 สกุล sixty three ชนิด และ Orchidoideae พบ 7 สกุล 13 ชนิด แบ่งเป็นกล้วยไม้อิงอาศัย 33 ชนิด พบได้ในป่าทุกแบบ ที่ระดับความสูง 276–1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล กล้วยไม้ที่ขึ้นบนหิน eight ชนิด พบมากในบริเวณป่าดิบเขาต่ำที่ระดับความสูงมากกว่า 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ยกเว้น Bulbophyllum rufinum Rchb.f. ที่พบในป่าเต็งรัง ระดับความสูง 553 เมตร จากระดับน้ำทะเล กล้วยไม้ดิน 32 ชนิด พบได้ในป่าทุกแบบ ที่ระดับความสูง 288–1,200 เมตร จากระดับทะเล และกล้วยไม้ที่มีลักษณะวิสัยมากกว่าหนึ่งแบบพบ 3 ชนิด ในป่าดิบเขาต่ำ ระดับความสูง 1,100–1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล สกุลที่พบมากที่สุดคือ Dendrobium Sw. รองลงมาคือ Bulbophyllum Thouars กล้วยไม้ที่สำรวจพบทั้งหมด seventy six ชนิด มีกล้วยไม้หนึ่งชนิดที่จัดอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (EN) คือ Didymoplexiella siamensis (Rolfe)Seidenf. ซึ่งเป็นพืชถิ่นเดียวที่พบในป่าดิบเขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และป่าดิบชื้นทางภาคกลางของประเทศไทยกล้วยไม้ที่อยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (VU) 2 ชนิด คือ Bulbophyllum orientale Seidenf.
พบกล้วยไม้หายาก 1 ชนิด คือ Calanthe cardioglossa Schltr. เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 นายสิรินทร์ แก้วละเอียด ประธานคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงานและติดตามผลการดำเนินงาน องค์การสวนพฤกษศาสตร์ พร้อมด้วย นายอภิชาต รัตนราศรี นายธนิต ธงทอง และคณะผู้บริหาร อ.ส.พ. 2.รถสองแถวสีเหลือง(สะเมิง) จากตัวเมืองเชียงใหม่ไปยังสวนพฤกษศาสตร์ โดยขึ้นรถที่สถานนีขนส่งช้างเผือก เวลา 6.00 – 18.00 น.